การ์ตูน ที่เรารู้จักกันอยู่ทุกวันนี้ เคยสงสัยกันมั้ยคะ ว่ามีที่มาอย่างไร และจุดเริ่มต้น อนิเมชั่น มาจากไหน ถ้าเราอยากไปที่จุดเริ่มต้น ก็น่าจะต้องย้อนไปในคริสตศตวรรษที่ 13 ในยุคที่ยุโรปตอนเรเนซองต์ ซึ่งคำว่าการ์ตูนที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบันเนี่ย มีรากศัพท์มาจากภาษาอิตาเลี่ยน ซึ่งมันจะมีความหมายว่ากระดาษผืนใหญ่ ซึ่งในสมัยนั้นก็ยังไม่ได้มีการทำเป็นภาพอนิเมชั่นเหมือนอย่างในปัจจุบันนะคะ ส่วนมากแล้วคนในยุคนั้นมักจะนิยมใช้เป็นสีน้ำมันในการรังสรรค์ผลงานการ์ตูนออกมาค่ะ ผลงานโดดเด่นในสมัยนั้น

ก็คงจะหนีไม่พ้นศิลปินชื่อดังระดับโลกอย่าง Leonardo di ser Piero da Vinci และอีกคนก็คือ Raffaello Sanzio da Urbino และแน่นอนว่าผลงานของพวกเค้านั้นมีราคาที่ค่อนข้างสูงมากๆ นอกจากนี้ในช่วงศตวรรษที่ 18 ยังมีการค้นพบผลงานภาพการ์ตูนของ William Hogarth ซึ่งเป็นภาพร่างของการ์ตูนของนักเขียนชาวอังกฤษ บทความดีๆจาก betflik68 ในปี 1843 ผลงานชิ้นนี้เรียกได้ว่าเป็นผลงานล้อเรียนการเมืองในยุคนั้น ซึ่งมีชื่อเสียงที่โด่งดังเป็นอย่างมากเลยล่ะค่ะ เพราะว่าในช่วงนั้นการ์ตูนแนวเสียดสีสังคมเนี่ย

เป็นที่นิยมเป็นอย่างมาก จึงเป็นจุดเริ่มต้นของการทำการ์ตูนเสียดสีสังคมออกมาแพร่กระจายไปยังประเทศอื่นๆด้วยค่ะ อย่างเช่น จีน เยอรมัน ก็เริ่มจะมีการ์ตูนเหล่านี้ออกสื่อมาบ้างนั่นเองค่ะ

1.การ์ตูนภาพนิ่ง โดยการ์ตูนภาพนิ่งก็ตามชื่อเลยค่ะ การ์ตูนเหล่านี้จะไม่เคลื่อนไหว หรือว่าแสดงอิริยาบถในการแสดง บออกเล่าเรื่องราวต่างๆ จะเป็นการบอกเล่าเรื่องราวแต่ไม่มีการดำเนินต่อนั่นเองค่ะ

2.การ์ตูนภาพเคลื่อนไหว โดยการ์ตูนแบบเคลื่อนไหวก็จะตรงกันข้ามกับภาพนิ่งนะคะ เป็นการ์ตูนที่จะมีการเคลื่อนไหว จากภาพนึงไปเป็นอีกภาพนึงแสดงอิริยาบถต่างๆท่าทาง อารมณ์ให้เรารู้สึกถึงอารมณ์ของตัวละครได้อย่างชัดเจน


การ์ตูน
  • การ์ตูนการเมือง
  • การ์ตูนขำขัน
  • การ์ตูนเรื่องยาว
  • การ์ตูนประกอบเรื่อง
  • การ์ตูนมีชีวิต

การ์ตูน

นอกจากนี้การ์ตูนทั่วไปแล้ว โลกของเราก็มีวิวัฒนาการมาทำการ์ตูนอนิเมชั่น ซึ่งจุดเริ่มต้นของอนิเมชั่นนั้น เค้าก็จะมีการใช้เทคนิคในการวาดตัวละคร โดยทั่วไปแล้วหากเป็นงานทางฝั่งตะวันตก หรือว่าเป็นการ์ตูนที่มักจะฉายอยู่ในโรงภาพยนตร์ก็จะบังคับให้ใน 1 วินาที จะต้องใส่รูปทั้งหมด 24 เฟรม หรือว่าจะมากกว่านั้นก็ได้ค่ะ โดยงานประเภทนี้ แน่นอนว่าเป็นงานที่ต้องใช้เวลาในการทำเป็นอย่างมาก จึงต้องใช้อนิเมเตอร์เป็นจำนวนมากในการสร้างสรรค์ผลงาน เรียกได้ว่าต้องใจรักจริงๆค่ะ จึงจะสามารถทำได้ นอกจากนี้ยังต้องต้นทุนในการผลิตค่อนข้างที่จะสูงมากๆ

1. Draw Animation

การ์ตูน

เป็นการวาดภาพด้วยมือเลยค่ะ แต่จะต้องวาดต่อเนื่องกันด้วยนะคะ จนได้เป็นอนิเมชั่น ซึ่งกว่าจะทำได้ในสมัยก่อนก็ยิ่งใช้เวลานานมากเลยล่ะค่ะ เพราะว่าเมื่อก่อนไม่ค่อยมีเทคโนโลยีในการมาลองรับ เพราะฉะนั้นการที่เราจะต้องสร้างอนิเมชั่นออกมาเพียงไม่กี่วินาทีเนี่ย ต้องใช้ภาพวาดจำนวนเยอะมากๆ หรืออาจจะเป็นพันภาพเลยก็ว่าได้ นั่นจึงเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมถึงใช้ขั้นตอนในการผลิตที่นานขนาดนี้

นอกจากนี้การสร้างอนิเมชั่นแบบนี้ ยังใช้ต้นทุนในการผลิตที่เยอะมากๆ เพราะว่าต้องใช้อนิเมเตอร์ใตนการนั่งวาดภาพแต่ละภาพเยอะมากๆ นั่นก็เป็นอีกเหตุผลที่ต้นทุนในการผลิตก็สูงตามไปด้วย โดยการที่เราจะวาดภาพจำลองการเคลื่อนที่ของวัตถุแบบอย่างต่อเนื่อง ในแต่ละเฟรมซ้อนกันทำให้มองเห็นลำดับ ในการแสดงภาพเคลื่อนไหวในแต่ละเฟรมได้ อนิเมเตอร์ที่วาดจึงต้องใช้ภาพที่วาดก่อนหน้านี้ในการซ้อนกัน เพื่อให้ภาพมันต่อเนื่องกันด้วยนั่นเองค่ะ มันจะทำให้ภาพเคลื่อนไหวต่อเนื่องกันได้เนียนมากๆ

2. Model Animation

การ์ตูน

การสร้างสรรค์ผลงานประเภทนี้จะมีชื่อเรียกอีกอย่างที่เราคุ้นหูกันมากๆก็คือ Stop Motion เป็นเทคนิคการปั้น หรือการสร้างโมเดล โดยใช้ดินน้ำมัน หรือวัสดุใดๆก็ตามในการสร้าง และต้องขยับทีละน้อยเพื่อให้ภาพนั้นต่อเนื่องกันค่ะ แต่เทคนิคนี้นั้นจะต้องใช้วัสดุที่ทำขึ้นมาแล้วใช้กล้องถ่ายจริงๆด้วยนะคะ เหมือนเล่นเกมตุ๊กตาเดินได้อะไรแบบนั้นเลยค่ะ แล้วเราก็ต้องใช้กล้องบันทึกภาพ ทุกขณะ ที่ทำการขยับหรือเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุ จึงทำให้เกิดเป็นภาพเคลื่อนไหว แต่ต้องใช้ความละเอียดมาก

ภาพจึงจะออกมาดูเหมือนจริง รวมถึงต้องมีการกำหนดจังหวะ ของแต่ละฉากอย่างชัดเจนไว้ ก่อนหน้าที่จะเริ่มทำการถ่ายทำด้วยนะคะ

3. Computer Animation

การ์ตูน

การใช้เทคนิคแบบนี้ก็จะเป็นการใช้แบบแพร่หลายแล้วล่ะค่ะ เพราะว่าเป็นช่วงที่เทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มขึ้น นั่นจึงมีการใช้โปรแกรมจากคอมพิวเตอร์มากขึ้นอย่างเช่น Maya, 3D MAX ,Adobe After Effect หรือ Flash โดยจะมีการใช้โปรแกรมเหล่านี้มาปรับหรือว่าตกแต่งรูปภาพการขยับให้มันเนียนมากขึ้น หรือว่าลบส่วนเกินได้นั่นเองค่ะ  นอกจากนี้ยังสามารถสร้างสรรค์ผลงาน ที่เราไม่จำเป็นต้องไปถ่ายทำจริงๆ โดยการใช้เทคนิค Rotoscope เป็นเทคนิคในการสร้างอนิเมชั่นแบบยุคเริ่มแรก

โดยอนิเมเตอร์จะต้องทำการลอกลายเส้นของวัตถุก่อนค่ะ ซึ่งจะติดกันในแต่ละเฟรม แต่ต้องทำให้เนียนด้วยนะคะ เพื่อให้ภาพมันสมจริงมากยิ่งขึ้น จากนั้นค่อยนำไปสร้างเป็นโครงร่างขึ้นมาซึ่งมันก็จะสามารถทำให้ภาพดูแตกต่างไปจากเดิมแล้วดูเหมือนขยับได้แบบสมจริงนั่นเองค่ะ

4. RACK MOTION

การ์ตูน

เทคนิคนี้ก็จะเป็นเทคนิคแบบซ้อนภาพนะคะ แต่ก็จำเป็นจะต้องมีการวางแผนก่อนถ่ายทำผลงานก่อน แต่การทำแบบนี้ก็จะมีจุดแท็กที่บอกตำแหน่งของการวางภาพ หรือว่าวิดิโอที่เราจะใส่ลงไป โดยการทำเทคนิคแบบนี้ก็จะสามารถทำให้เราสร้างสรรค์ผลงานออกมาได้หลายรูปแบบมากๆเลยค่ะ และยังทำให้ผลงานของเราออกมาดูสมจริงเป็นอย่างมาก รวมถึงการที่เราสร้างสรรค์ผลงาน

จากอนิเมชั่นขึ้นมาจากคอมพิวเตอร์นั้นก็ประหยัดมากกว่าการที่เราใช้อนิเมเตอร์วาดเป็นพันรูป แถมยังเสียเวลาเสียทุนมากกว่า แต่ก็ใช่ว่าจะง่ายกว่าซะทีเดียวนะคะ เพราะว่าเราต้องวางแพลนการทำงานให้ดี ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของชิ้นงานนั้นๆด้วย ผลงานที่มีการออกแบบด้วยเทคนิคนี้และมีชื่อเสียงเป็นอย่างมากก็คือเรื่อง ก้านกล้วย นั่นเองค่ะ

ทั้งหมดนี้ คือ ความหมายของคำว่า การ์ตูน ในแต่ละประเภทที่มีความแตกต่างในการสร้างสรรค์ ซึ่งเราได้หาคำอธิบายมาให้ผู้อ่านได้ทำความเข้าใจ และทำความรู้จักกันให้มากขึ้น และสุดท้ายนี้ต้องขอขอบคุณ เบทฟิก68 อีกครั้ง ที่ทำให้เราได้มีบทความดีๆแบบนี้ให้เราได้อ่านกันนะคะ

บทความล่าสุด